February 2022

วัคซีนโควิด-19 ประสิทธิผล 90% ดีกว่า 70% เสมอหรือไม่?

ในช่วงปลายปี 2020 ข่าววัคซีนโควิด-19 ที่มีประสิทธิผล 90% ดูเหมือนจะเป็นความหวังของผู้คนทั่วทั้งโลก สายตาของประชาชนนานาประเทศจับจ้องไปที่วัคซีนที่ยังไม่รู้ว่าจะเดินทางมาหาตนได้เมื่อใด และมองวัคซีนที่มีประสิทธิผลต่ำกว่าด้วยความเคลือบแคลงใจ ทว่า อีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่จะบ่งบอกว่าวัคซีนโควิด-19 ชนิดใดให้ผลดีกว่า ในแง่การควบคุมการระบาด ลดจำนวนผู้ป่วยได้ดีกว่า คือ ระยะเวลาที่วัคซีนให้ผลคุ้มครอง ผลการวิจัยซึ่ง HITAP ดำเนินการร่วมกับ Mahidol...

Session: มีวัคซีน = บอกลาโควิดจริงหรือไม่ ? โดย นพ.นคร เปรมศรี

มีวัคซีน = บอกลาโควิดจริงหรือไม่ ? (Session : will COVID-19 disappear after the vaccination? ) จากความคาดหวังสู่ความเข้าใจ HITAP ได้เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านวัคซีนมาตอบคำถามสังคมให้เข้าใจสิ่งที่เกิดได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น “ความหวังของคนทั่วโลกไปตั้งอยู่ที่วัคซีน หากพูดตามตรง ปริมาณเท่านี้ไม่สามารถรองรับความต้องการของทุกคนในโลกได้ ฉะนั้นต้องมีการจัดสรรให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยประเทศไทยเอง ตั้งเป้าฉีดวัคซีนให้ประชากรได้...

Social vaccine คือวัคซีนที่เรามีอยู่แต่ไม่รู้ตัว | We all already have (social) vaccine with us

โควิด-19 ยังจะอยู่กับเราไปอีกนานราวกับการวิ่งมาราธอนแสนไกล หลายคนเฝ้ารอวัคซีนเพื่อคลี่คลายปัญหา ทว่าวัคซีนก็ไม่ใช่ทางออกทั้งหมด “คำว่า Social vaccine มีมานานแล้ว มันคือมาตรการต่างๆ ที่ช่วยลดการระบาดของโรค เช่น การปิดเมือง งดเว้นการเดินทางท่องเที่ยว ถึงตอนนี้ Social vaccine ง่ายๆ ที่อยู่ใกล้ตัวเรามี 3...

โควิด-19 จะอยู่กับเราไปอีกนานแค่ไหน? | How long will COVID-19 last?

เมื่อไหร่จะกลับไปสู่วิถีชีวิตแบบปกติ ? คงเป็นคำถามของใครหลายคน HITAP ได้นำเสนอคำตอบพร้อมหนทางแก้ปัญหาให้กับสังคม “ไม่ใช่แค่เพียงในประเทศไทย แต่มีแนวโน้มว่าโควิด-19 จะอยู่กับประชากรทั่วโลกไปอีกยาวนาน เปรียบเสมือนการวิ่งมาราธอนที่ยังไม่เห็นเส้นชัย ณ ขณะนี้ ต่อให้คิดค้นวัคซีนที่ได้ผลดีเยี่ยม แต่ด้วยกำลังผลิตที่มีจำกัด จึงยังไม่สามารถผลิตวัคซีนออกมาได้เพียงพอกับประชากรทั่วโลก ดังนั้นวัคซีนจึงแค่ชะลอการระบาดเท่านั้น” โดย ผศ.ดร. วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย หัวหน้าโครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ...

การหาปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเลือกวัคซีนใหม่ในประเทศไทยโดยวิธี best-worst scaling

บทคัดย่อ การนำวัคซีนใหม่เข้ามาใช้ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ได้แก่ นโยบาย แนวทางปฏิบัติ และการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ ผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆ จึงพิจารณาปัจจัยสำคัญที่แตกต่างกันไปในการนำวัคซีนใหม่เข้าสู่โครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันแห่งชาติ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อการคัดเลือกวัคซีนใหม่จากมุมมองของผู้กำหนดนโยบาย นักวิชาการ และบุคลากรสาธารณสุข ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับวัคซีน (attribute) ที่ใช้ในการศึกษาได้มาจากการทบทวนวรรณกรรมและการสัมภาษณ์บุคลากรสาธารณสุข ปัจจัยดังกล่าว ได้แก่ ภาระโรค กลุ่มอายุ ผลกระทบด้านงบประมาณ...

การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพโดยคณะทำงานด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ภายใต้คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ รอบปี พ.ศ. 2559-2561

บทคัดย่อ ประเทศไทยได้พยายามพัฒนากรอบบัญชียาจำเป็นหรือยาหลักแห่งชาติมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งในปี พ.ศ. 2551 มีการนำข้อมูลความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณมาเป็นส่วนหนึ่งในการพิจารณาคัดเลือกยาบางกลุ่มเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติ เช่น ยาราคาสูง ยาที่มีผลกระทบด้านงบประมาณสูง เพื่อให้สามารถตอบสนองต่ออัตราการใช้ยาที่เพิ่มขึ้น รวมถึงการพัฒนายาใหม่ที่มีราคาสูงขึ้น คณะทำงานด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ภายใต้คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติมีบทบาทเกี่ยวข้องกับการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ (health technology assessment...

Policy brief: ฉบับที่ 95: ประเทศไทยกับความต้องการและแนวทางการจัดหาวัคซีนโควิด-19 ในปี 2565

รัฐบาลไทยได้มีแผนในการจัดหาวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สำหรับใช้ในประเทศไทย ประมาณ 108 ล้านโดสจาก 4 บริษัท ได้แก่ Sinovac (19.5 ล้านโดส) AstraZeneca (62.05 ล้านโดส) Pfizer-BioNTech (21.5 ล้านโดส) และ Johnson...

โครงการประเมินผลกระทบและความคุ้มค่าของวัคซีนโควิดที่พึงประสงค์เพื่อใช้ในการพัฒนาและคัดเลือกวัคซีนสำหรับใช้ในประเทศไทย

รหัสโครงการ: 63171010RM017F0 นักวิจัยหลัก   ดร. นพ.ยศ ตีระวัฒนานนท์ นักวิจัยร่วม รศ.ดร.วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย Wang Yi Hannah Clapham Wirichada Pan-Ngum Minah Park Nantasit...

Start typing and press Enter to search